Thanet Ratanakul

Thanet Ratanakul

ผู้ร่วมก่อตั้ง Baboonhub ที่สนใจอ่านงานวิจัยและอยากให้ Research Based Content เป็นที่นิยมมากขึ้น

“หลับฝัน ฉันยังร้องเป็นเพลง” เรื่องน่ารักของธรรมชาตินก แม้ยามหลับนกยังซ้อมร้องเพลง

นกจำนวนมากในกลุ่ม “นกเสียงเพลง” (songbirds) มีสมองส่วนเฉพาะไว้สำหรับการเรียนรู้เสียงเพลงใหม่ ๆ นี่จึงทำให้นักวิจัยของมหาวิทยาลัย University of Buenos Aires ศึกษาความเชื่อมโยงระหว่างความฝันของนกและการสร้างเสียงเพลง

จับโป๊ะภาพ AI-generated ให้สังเกตที่ “ดวงตา” และค้นพบโดยนักดาราศาสตร์!

เดี๋ยวนี้ภาพ AI -generated มีเยอะมาก บางรูปทำขำ ๆ ดูหางตาก็รู้ว่าปลอม แต่บางรูปก็พยายามเลียนแบบให้สมจริง ยิ่งระยะหลัง Deepfakes มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนแยกแทบไม่ออก

บทบาท Consumer Drone ในสงครามยูเครน “อัตราสังหารสูง-ในราคาย่อมเยา” เทคโนโลยีพลเรือนในภาวะสงคราม

Consumer drone in Ukraine
Drone FPV ล่าสังหารที่มีราคาเพียง 15,000 บาท อาจได้ผลไม่ต่างจาก จรวดพิฆาตรถถัง FGM-148 Javelin ที่มีราคา 7 ล้านบาท สงครามที่ยืดเยื้อจะทำให้โดรนกลายเป็นยุทธภัณฑ์ที่มี “อัตราสังหารสูง ในราคาย่อมเยา”

“สาหร่าย” จะเป็นแหล่งอาหารที่ยั่งยืนหากโลกเกิด Post Nuclear War

สาหร่าย
โลกหายนะจากระเบิดนิวเคลียร์เป็น ฉากทัศน์ที่แย่ที่สุดหากเกิดขึ้นกับมนุษยชาติ แม้สปีชี่ส์มนุษย์จะไม่สูญพันธุ์ไปเสียทีเดียว แต่ผู้เหลือรอดจะเผชิญความยากลำบากในการเข้าถึงแหล่งอาหาร

‘ขยะอิเล็กทรอนิกส์’ ภาระรับผิดชอบของสังคมไฮเทค

Electronics Waste
ความรวดเร็วในการพัฒนาเทคโนโลยีก็ก้าวกระโดดจนผู้บริโภคต้องตามให้ทัน จนกลายเป็น ‘ของเก่าไป ของใหม่มา’ ซึ่งของเก่ามักถูกทิ้งให้เป็น ‘ขยะ’ ที่ยากจะทำลาย

ป่าชุมชน การหยัดยืนของชุมชนเพื่ออยู่ร่วมกับป่า

ป่าชุมชน
สังคมไทยในอดีตล้วนมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับป่าไม้มาอย่างยาวนาน มนุษย์มีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ป่าตั้งแต่เกิดจนกระทั่งสิ้นลมหายใจ มนุษย์และป่าจึงเป็นส่วนหนึ่งซึ่งกันและกันอย่างแยกไม่ขาด

“Ebers Papyrus” บันทึกอียิปต์ ที่เปลี่ยนมุมมองการแพทย์โลกโบราณอย่างสิ้นเชิง

“Ebers Papyrus” บันทึกอียิปต์
ดินแดนอียิปต์โบราณเป็นพื้นที่อันตรายและไม่ปราณีปราศรัยต่อมนุษย์สักเท่าไหร่ โรคระบาดทำให้ผู้คนล้มตาย ในขณะเดียวกันยังมีปรสิตก่อโรคที่อาศัยในแหล่งน้ำ โดยเฉพาะ “แม่น้ำไนล์” แม่น้ำสายนี้ทั้งคร่าชีวิตและให้ชีวิตในคราเดียวกัน

“ตะขาบ” นักไต่ สู่อนาคต Robot ดีไซน์ใหม่

“ตะขาบ” นักไต่ สู่อนาคต Robot ดีไซน์ใหม่
ธรรมชาติมักเป็นแรงบันดาลใจให้กับนวัตกรรมเสมอ! ตะขาบเองก็เช่นกัน แม้หน้าตาอาจไม่ตรงสเป็คมนุษย์ แต่ลักษณะทางกายภาพทำให้มันเป็นนักเดินทางทุกสภาพพื้นผิว

“ห่าน” อาจเป็นนกชนิดแรกที่มนุษย์เลี้ยงสำเร็จเมื่อ 7,000 ปีก่อน

“ห่าน” อาจเป็นนกชนิดแรกที่มนุษย์เลี้ยงสำเร็จเมื่อ 7,000 ปีก่อน
อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ปีกถือว่ามีขนาดใหญ่มากเพื่อเลี้ยงปากเลี้ยงท้องมนุษย์ เราอาจจะเผลอคิดว่า “ไก่” น่าจะเป็นสัตว์ที่เราคุ้นเคยที่สุด

การค้าสัตว์ป่าผิดกฎหมาย อาจนำมาสู่โรคระบาดระลอกใหม่ในอนาคต

การค้าสัตว์ผิดกฎหมาย
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเหล่านี้มักปล่อยสารคัดหลั่งปริมาณมากตามกลไกธรรมชาติทั้ง ปัสสาวะ น้ำมูก น้ำลาย จะยิ่งทำให้โรคระบาดต่างๆ ติดต่อมนุษย์ได้ง่ายขึ้นผ่านระบบทางเดินหายใจ