Thanet Ratanakul

Thanet Ratanakul

ผู้ร่วมก่อตั้ง Baboonhub ที่สนใจอ่านงานวิจัยและอยากให้ Research Based Content เป็นที่นิยมมากขึ้น

“ตะขอไม้” นวัตกรรมของกา วิจัยพฤติกรรมกาใช้ซ้ำหลายครั้ง เพื่อชีวิตง่ายขึ้น

Large-billed crow photo
กา (crow) เป็นนกนักดัดแปลงตัวยง นักวิจัยสนใจความสามารถการดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติให้เป็นเครื่องมือ โดยเฉพาะกาสายพันธุ์ Corvus moneduloides ที่อาศัยบนเกาะนิวแคลิโดเนีย ทางแปซิฟิกตอนใต้

ปริศนานาก “กลิ้งหิน” ในมือ ทำเพราะจำเป็น หรือแค่สนุกเฉยๆ

otter-juggler photo
การจับวัตถุขนาดกลมเล็กมา “กลิ้งและโยน” ด้วยมือ ไม่ใช่ทักษะที่ทำกันได้ง่ายๆ คุณต้องมีนิ้วมือที่พลิ้วไหวและความคล่องแคล่วในการใช้มือระดับชำนาญ แต่นาก (otter) กลับเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิลึก

ผึ้งไขปริศนาจากศตวรรษที่ 17

bubble bee featured photo
หากคนตาบอดตั้งแต่เกิด เรียนรู้ที่จะแยกแยะวัตถุโดยการ “จับ” (touch) มาทั้งชีวิต ถ้าวันหนึ่งคนตาบอดสามารถมองเห็นได้ขึ้นมา เขาจะจำวัตถุด้วยการมองเห็น (sight) ได้ไหม โดยไม่สัมผัสวัตถุนั้นเลย

หมารู้ไหม เมื่อเจ้านายแยกทาง

dog photo
สัตว์เลี้ยงที่อยู่ระหว่างรอยร้าวของความรักมนุษย์ สัมผัสได้ถึงความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์อันซับซ้อน แม้มันรักคุณทั้งคู่ แต่ทำอย่างไรจะลดผลกระทบในเชิงจิตวิทยาต่อสัตว์เลี้ยงที่อยู่ตรงกลาง

เกิดมาบ้านจน สมองต้องจนด้วยไหม การเติบโตในสังคมอัตคัด ส่งผลถึงกายภาพสมอง

student feautred photo
“ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั้น” แต่ถ้าคุณเติบโตมาในสังคมที่ไม่มีทรัพยากรเอื้อให้เกิดความพยายามเลย สมองของมนุษย์จะผันแปรตามปัจจัยของทรัพยากรอย่างไร

พลังมวลชนใช้ได้ผล ช้างแอฟริกาถูกฆ่าลดลง

african elephant photo
ถ้ารัฐบาลทั่วโลกเอาจริงกับการค้างาช้างเถื่อน พวกเราจะสามารถช่วยชีวิตช้างป่าได้ ส่วนหนึ่งมาจากพลังกดดันของมวลชน ที่เราจะไม่สนับสนุนและครอบครองงาช้างด้วยประการทั้งปวง

เลี้ยงแบคทีเรียให้กินพลาสติก นักวิทย์ฯ เลี้ยง Ideonella sakaiensis ให้เป็นอาวุธลับสู้พลาสติก

bacteria
ธรรมชาตินี่ก็แปลกอยู่อย่าง ไม่ว่าเราจะทำลายมันมากแค่ไหน ธรรมชาติเองก็ยังมีความลี้ลับที่คอยแก้ปัญหาตัวเองให้ทุเลาลงได้เสมอ แม้กระทั่งโพลีเมอร์ที่สร้างผลกระทบสูงอย่าง ‘พลาสติก’

คุณเป็นคนนอนดิ้นไหม สัญญาณลับที่ร่างกายพยายามส่งยามราตรีแต่ถูกมองข้าม

young-students-sleeping-on-the-staircase featured image
การเคลื่อนไหวในยามค่ำคืนอาจเป็นสะพานเชื่อมระหว่างรหัสปริศนาของความฝันและร่างกายที่ตื่น มากกว่าที่เราเคยรู้จัก เสมือนสัญญาณลับที่ร่างกายพยายามส่งยามราตรีที่มักถูกมองข้ามอยู่เสมอ

ช่วงไวรัสโคโรนาระบาด ทำความสะอาด “มือถือ” บ้างหรือยัง?

cleaning-smartphone-with-disinfectant photo
เวลาหยิบจับนู้นนี่ แล้วสิ่งที่เราหยิบจับบ่อยที่สุด ก็สมาร์ทโฟนไง มาเป็นอันดับหนึ่ง แต่มีคนจำนวนน้อยมากๆ ที่เช็ดฆ่าเชื้อสมาร์ทโฟนทุกวัน