Tag วิทยาศาสตร์อารมณ์ดี

สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ photo
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ จริงๆ แล้วเรืองแสงได้ ถ้าส่องด้วยแสงอัลตราไวโอเลต UV
แม้ความมืดมิดปกคุลม แต่ผิวหนังของกบและซาลาแมนเดอร์ยังเรืองแสงได้สวยงาม จากสิ่งที่เรียกว่า biofluorescence หรือการวาวแสงทางชีวภาพ ที่ทำให้ชีวิตเล็กๆของพวกมัน กลายเป็นศิลปะชั้นยอดจากธรรมชาติที่ยากจะเลียนแบบ
ant photo
มดจะไม่กัด หากมันไม่ได้กลิ่น ความซับซ้อนของ Receptor รับกลิ่น ที่เปลี่ยนศัตรูเป็นมิตร
กลิ่นถือเป็นเรื่องคอขาดบาดตายในชีวิตมด ถ้าคุณมีกลิ่นที่ไม่ใช่เพียงนิดเดียว แม้พวกเดียวกันก็อาจคิดว่าเป็นศัตรู นี่ทำให้ “มด” (Ant) จำเป็นต้องอาศัยกลิ่นในการแยกแยะสมาชิกในระดับซีเรียสกว่าที่พวกเราคิด
Leaning Human Anatomy photo
ไม่ต้องเรียนหมอ ก็ผ่าศพจริงได้
ในยุคที่ทุกคนสามารถหาความรู้ได้เท่าเทียมกัน แม้คุณจะเป็นคนธรรมดาที่เพียงแต่หลงใหลความลับของร่างกาย ไม่ได้อยากเป็นแพทย์รักษาคน คุณก็มีสิทธิเรียนรู้ความมหัศจรรย์ของร่างกายผ่าน ‘ศพจริง’
กัญชา photo
วิลเลียม บรูก โอชอเนสซี แพทย์คนแรกที่มอง “กัญชา” เป็นเวชศาสตร์ในโลกตะวันตก
“ผู้ป่วยคนแรกหลังจากได้รับการรักษาด้วยกัญชา พูดเก่งขึ้นมาทันที แถมขออาหารเพิ่มด้วย” วิลเลียม บรูก โอชอเนสซี่ เขียนในบันทึกของเขา
Step Count featured photo
เดินเย้ยมัจจุราช เดินกี่ก้าวถึงช่วยลดความเสี่ยงเสียชีวิตได้?
ร่างกายของเรามีวิวัฒนาการให้เคลื่อนไหวบ่อยๆ แต่กิจวัตรภายใต้สังคมเมืองทำให้เราไม่ค่อยแอ็คทีฟเนี้ยล่ะสิ คุณเคยนับก้าวทั้งวันได้กี่ก้าว?
Large-billed crow photo
“ตะขอไม้” นวัตกรรมของกา วิจัยพฤติกรรมกาใช้ซ้ำหลายครั้ง เพื่อชีวิตง่ายขึ้น
กา (crow) เป็นนกนักดัดแปลงตัวยง นักวิจัยสนใจความสามารถการดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติให้เป็นเครื่องมือ โดยเฉพาะกาสายพันธุ์ Corvus moneduloides ที่อาศัยบนเกาะนิวแคลิโดเนีย ทางแปซิฟิกตอนใต้
otter-juggler photo
ปริศนานาก “กลิ้งหิน” ในมือ ทำเพราะจำเป็น หรือแค่สนุกเฉยๆ
การจับวัตถุขนาดกลมเล็กมา “กลิ้งและโยน” ด้วยมือ ไม่ใช่ทักษะที่ทำกันได้ง่ายๆ คุณต้องมีนิ้วมือที่พลิ้วไหวและความคล่องแคล่วในการใช้มือระดับชำนาญ แต่นาก (otter) กลับเป็นสัตว์ที่มีพฤติกรรมพิลึก
bubble bee featured photo
ผึ้งไขปริศนาจากศตวรรษที่ 17
หากคนตาบอดตั้งแต่เกิด เรียนรู้ที่จะแยกแยะวัตถุโดยการ “จับ” (touch) มาทั้งชีวิต ถ้าวันหนึ่งคนตาบอดสามารถมองเห็นได้ขึ้นมา เขาจะจำวัตถุด้วยการมองเห็น (sight) ได้ไหม โดยไม่สัมผัสวัตถุนั้นเลย
dog photo
หมารู้ไหม เมื่อเจ้านายแยกทาง
สัตว์เลี้ยงที่อยู่ระหว่างรอยร้าวของความรักมนุษย์ สัมผัสได้ถึงความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์อันซับซ้อน แม้มันรักคุณทั้งคู่ แต่ทำอย่างไรจะลดผลกระทบในเชิงจิตวิทยาต่อสัตว์เลี้ยงที่อยู่ตรงกลาง
student feautred photo
เกิดมาบ้านจน สมองต้องจนด้วยไหม การเติบโตในสังคมอัตคัด ส่งผลถึงกายภาพสมอง
“ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั้น” แต่ถ้าคุณเติบโตมาในสังคมที่ไม่มีทรัพยากรเอื้อให้เกิดความพยายามเลย สมองของมนุษย์จะผันแปรตามปัจจัยของทรัพยากรอย่างไร
african elephant photo
พลังมวลชนใช้ได้ผล ช้างแอฟริกาถูกฆ่าลดลง
ถ้ารัฐบาลทั่วโลกเอาจริงกับการค้างาช้างเถื่อน พวกเราจะสามารถช่วยชีวิตช้างป่าได้ ส่วนหนึ่งมาจากพลังกดดันของมวลชน ที่เราจะไม่สนับสนุนและครอบครองงาช้างด้วยประการทั้งปวง
bacteria
เลี้ยงแบคทีเรียให้กินพลาสติก นักวิทย์ฯ เลี้ยง Ideonella sakaiensis ให้เป็นอาวุธลับสู้พลาสติก
ธรรมชาตินี่ก็แปลกอยู่อย่าง ไม่ว่าเราจะทำลายมันมากแค่ไหน ธรรมชาติเองก็ยังมีความลี้ลับที่คอยแก้ปัญหาตัวเองให้ทุเลาลงได้เสมอ แม้กระทั่งโพลีเมอร์ที่สร้างผลกระทบสูงอย่าง ‘พลาสติก’